บันทึกการเรียนครั้งที่
6 วันพุธที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561
เพื่อนนำเสนอคำคมผู้บริหาร
![]() |
ปรีชญา |
![]() |
พิชญากาญจน์ |
![]() |
มาณิศา |
การบริหารงานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
การบริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
มีลักษณะการบริหารเฉพาะตัว โดยที่ต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. นโยบาย
และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศของรัฐบาล
2. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
4. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
5. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
6. ปรัชญา นโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา
7. ความต้องการของชุมชน
การจัดประเภท
และรูปแบบสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในประเทศไทย
1. การจัดแบ่งตามโครงสร้างการบริหารตามขนาด แบ่งเป็น 3
ขนาด คือ
1) โครงสร้างบริหารสถานศึกษาปฐมวัยขนาดเล็ก
2) โครงสร้างบริหารสถานศึกษาปฐมวัยขนาดกลาง
3) โครงสร้างบริหารสถานศึกษาปฐมวัยขนาดใหญ่
การจัดประเภท
และรูปแบบสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในประเทศไทย
2. การแบ่งตามรูปแบบตามพระราชบัญญัติการศึกษาชาติ
(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 )พ.ศ. 2545
กล่าวไว้ใน มาตรา 15กำหนดการจัดการศึกษา มี 3
รูปแบบ คือ)
1.รูปแบบในระบบโรงเรียน
2.รูปแบบนอกระบบโรงเรียน
3.รูปแบบตามอัธยาศัย
3. รูปแบบการให้บริการแบบใหม่
คือ การรวมเด็กที่ผิดปกติและเด็กปกติไว้ด้วยกัน
โดยเรียกแบบนี้ว่า “Normalization”
หลักในการบริหารงานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
1. การบริหารงานวิชาการ
เป็นการบริหารกิจกรรมทุกชนิดในโรงเรียน
ซึ่งเกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพัฒนาการสอนผู้เรียนให้ได้ผลดีและมีประสิทธิภาพที่สุด
2. การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาปฐมวัย
คือ การปฏิบัติการใช้คนให้ทำงาน
อย่างมีประสิทธิภาพโดยมีขบวนการต่าง ๆ
. การบริหารงานธุรการและการเงินในสถานศึกษาปฐมวัย
- งานธุรการในสถานศึกษา
- งานการเงินในสถานศึกษาปฐมวัย
- งานสารบรรณในสถานศึกษาปฐมวัย
- งานทะเบียนและรายงาน
- งานรักษาความปลอดภัย
- งานการเงินและพัสดุ
- งานพัสดุ
4. การบริหารงานกิจการนักเรียนในสถานศึกษาปฐมวัย
คือ การดำเนินงาน
เพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมในโรงเรียนโดยนักเรียนสมัครใจร่วมกิจกรรมเพื่อพัฒนาตนเอง
5. การบริหารสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาปฐมวัย
- การบริหารสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
- การบริหารสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมและประสบการณ์
ความหมาย
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน(School Based
Management)
คือ
การบริหารโดยกระจายอำนาจทางการศึกษาไปยังสถานศึกษาโดยตรงให้มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบและความคล่องตัวในการบริหารจัดการมากที่สุด
หลักการในการบริหารแบบโรงเรียนเป็นฐาน(School Based
Management)
• หลักการกระจายอำนาจ (Decentralization)
• หลักการมีส่วนร่วม (Participation or Collaboration Involvement)
• หลักการคืนอำนาจจัดการศึกษาให้ประชาชน( Return Power to People)
• หลักการบริหารตนเอง (Self - managing)
• หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล (Check and Balance)
รูปแบบโรงเรียนที่ใช้การบริหารแบบโรงเรียนเป็นฐาน
ผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก
(Administrative Control School Council )
• บริหารโดยครูเป็นหลัก
(Professional Control Council)
• การบริหารจัดการโดยชุมชนมีบทบาท
(Community Control School Council)
• ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก
(Professional Community Control School Council)
สรุปการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
( School-Based Management )
( School-Based Management )
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based
Management)
เป็นการถ่ายโอนอำนาจจากหน่วยงานไปให้แก่โรงเรียนได้บริหารแบบ
เบ็ดเสร็จที่โรงเรียนโดยมอบอำนาจการบริหารและจัดการศึกษาให้แก่
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งประกอบด้วยผู้ปกครอง
องค์กรแห่งการเรียนรู้
ศาสตร์ทั้ง 5 ขององค์กรแห่งการเรียนรู้
(ปีเตอร์ เอ็ม. เซงเก (Peter M. Senge) )
(ปีเตอร์ เอ็ม. เซงเก (Peter M. Senge) )
• การใฝ่ใจพัฒนาตน (Personal Mastery)
• รูปแบบของความคิด (Mental Models)
• วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision)
• การเรียนรู้เป็นทีม (Team Learning)
การประเมิน
ประเมินตนเอง
เรียนตรงเวลาตั้งใจฟังในสิ่งที่อาจารย์บรรยายและจดบันทึกตาม
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจเรียนและจดบันทึกการเรียนอย่างตั้งใจ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์อธิบายได้เข้าใจในเรื่องที่จะสอนได้ดีมาก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น